สหกิจศึกษา (โครงงานนักศึกษาสหกิจศึกษา)

การจัดการด้านสารเคมีให้ปลอดภัย (Chemical Safety Management)
จัดทำโดย : นางสาวณัฐมณ หมีคุ้ม
ปีที่จัดทำ : 2/2567
สาขาวิชา : อาชีวอนามัยและความปลอดภัย

ผลของการทดสอบสมรรถภาพทางกายด้านความอดทนของระบบหายใจและไหนเวียนเลือดในนักกีฬาฟุตบอลสโมสรเอสพีบอย
จัดทำโดย : นายปุณณัฐ ศุภเมธานนท์
ปีที่จัดทำ : 1/2563
สาขาวิชา : วิทยาศาสตร์การกีฬาและการออกกำลังกาย

ผลการฝึกความแข็งแรงของกล้ามเนื้อขาด้วยน้ำหนักตัว ( body weight ) ที่ส่งผลต่อพลังในการเตะฟุตซอลในระยะไกล
จัดทำโดย : นายนันทวัฒน์ สมิงรัมย์
ปีที่จัดทำ : 2/2567
สาขาวิชา : วิทยาศาสตร์การกีฬาและการออกกำลังกาย

การเปรียบเทียบความแข็งแรงของกล้ามเนื้อข้อเข่าและข้อไหล่ ของนักศึกษาฝึกประสบการณ์วิชาชีพ ณ การกีฬาแห่งประเทศไทย (หัวหมาก) ที่ออกกำลังกายและไม่ออกกำลังกาย
จัดทำโดย : นางสาวนริศรา ศรีม่วงกลาง
ปีที่จัดทำ : 2/2567
สาขาวิชา : วิทยาศาสตร์การกีฬาและการออกกำลังกาย

การเปรียบเทียบความแข็งแรงของกล้ามเนื้อข้อเข่าและข้อไหล่ ของนักศึกษาฝึกประสบการณ์วิชาชีพ ณ การกีฬาแห่งประเทศไทย (หัวหมาก) ที่ออกกำลังกายและไม่ออกกำลังกาย
จัดทำโดย : นางสาวศศิวรรณ สมบูรณ์
ปีที่จัดทำ : 2/2567
สาขาวิชา : วิทยาศาสตร์การกีฬาและการออกกำลังกาย

ผลขอ Caliper score ของแม่อุ้มท้องก่อนคลอด 1 สัปดาห์ต่อประสิทธิภาพการผลิตขอฃแม่สุกร
จัดทำโดย : นางสาวนารี อุนโล
ปีที่จัดทำ : 2/2567
สาขาวิชา : เกษตรศาสตร์

ผลของการฝึกโปรแกรม เอส คิว ที่มี ต่อความเร็วในการวิ่ง 50 เมตร ของนักกีฬาฟุตบอลสโมสรขอนแก่น เอฟซี
จัดทำโดย : นายณัฐวุฒิ แก้วชนะ
ปีที่จัดทำ : 2/2567
สาขาวิชา : วิทยาศาสตร์การกีฬาและการออกกำลังกาย

ผลของการฝึกโปรแกรมเสริมสร้างความคล่องแคล่วว่องไว ของนักกีฬาฟุตบอลทีมสโมสร สุรนารี แบล็คแคท เอฟซี
จัดทำโดย : นายวิทวัส หอพิกลาง
ปีที่จัดทำ : 2/2567
สาขาวิชา : วิทยาศาสตร์การกีฬาและการออกกำลังกาย

การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาและเปรียบเทียบผลของการฝึกคลาสไฮร็อกซ์ที่มีต่อความแข็งแรงของกล้ามเนื้อและระบบไหลเวียนโลหิต กลุ่มตัวอย่างเป็นสมาชิกที่เข้ามารับบริการ เรียลยิม จำนวน 10 คน สมัครใจเข้าร่วมการออกกำลังกายในคลาสไฮร็อกซ์ เป็นระยะเวลา 6 สัปดาห์ๆ ละ 3 วัน ฝึกวันละ 45-60 นาที ก่อนการฝึกและหลังการฝึก 6 สัปดาห์ ทำการทดสอบดันพื้น (Push up) 1 นาที และทดสอบก้าวขึ้นลงกล่อง 3 นาที นำข้อมูลที่ได้มาวิเคราะห์ข้อมูลโดยหาค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ทดสอบค่าที (Dependent t-test) ผลการวิจัยพบว่า การออกกำลังกายในคลาสไฮร็อกซ์ หลังการฝึก 6 สัปดาห์ มีค่าเฉลี่ยของความแข็งแรงของกล้ามเนื้อ (29.0+2.45 ครั้ง, 29.80+3.29 ครั้ง) และความอดทนของระบบไหลเวียนโลหิต (149.60+ 11.58 ครั้งต่อนาที, 140.90+11.17 ครั้งต่อนาที) เพิ่มขึ้นกว่าก่อนการฝึก อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 สรุปได้ว่าการออกกำลังกายในคลาสไฮร็อกซ์ช่วยพัฒนาสมรรถภาพทางกายด้านความแข็งแรงของกล้ามเนื้อและความทดของระบบไหลเวียนโลหิตได้ จึงเป็นกิจกรรมทางเลือกในการออกกำลังกายต่อไป
จัดทำโดย : นายกิติพงษ์ หงษ์คำมี
ปีที่จัดทำ : 2/2567
สาขาวิชา : วิทยาศาสตร์การกีฬาและการออกกำลังกาย

ผลของการฝึกคลาสไฮร็อกซ์ที่มีต่อความแข็งแรงของกล้ามเนื้อและระบบไหลเวียนโลหิต
จัดทำโดย : นายพัสกร เทพมณี
ปีที่จัดทำ : 2/2567
สาขาวิชา : วิทยาศาสตร์การกีฬาและการออกกำลังกาย